SWU - Economics

แผนการสอน

วิชา ศร 232สถิติ เศรษฐศาสตร์ 1

ECS 232 Economics Statistics 1


**************************************************************

วัน อังคาร เวลา 13.30-16.20 . ( 3 ชั่วโมง )                                                           ประกาศคะแนนสอบ

ผู้ สอน .ดร. พัตรานุช ศรประสิทธิ์ (ศบ (เกียรตินิยม), ศม.,Ph.D.)

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับตัวแปรสุ่ม ชนิดและประเภทของตัวแปรสุ่ม การแจกแจงตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่องและชนิดแบบต่อเนื่องต่างๆ และการแจกแจงตัวอย่าง การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน ศึกษา การทดสอบไคสแควร์ การวิเคราะห์ความแปรปรวน วิธีการนอนพาราเมทริกซ์ ทฤษฎีความน่าจะเป็นและการตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอนตามทฤษฏีของเบยส์ สหสัมพันธ์ วิธีการคำนวณและการใช้เลขดัชนีแบบต่างๆ การวิเคราะห์อนุกรมเวลาเบื้องต้น

ดาวน์โหลด Course Syllabus ภาค 1/2553

Syll.ecs.pdf Syll.ecs.pdf
Size : 0.047 Kb
Type : pdf

ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการบรรยาย
Click here    ปรับปรุงทุกสัปดาห์      

กำหนดการกิจกรรมการสอน

วัน

หัวข้อการศึกษา

08/06/53

บทนำ

  • วิธีการของคอมบิเนทอเรียล

  • สัมประสิทธิ์ไบโนเมียล

15/6/53


ความน่าจะเป็น

  • บทนำ

  • การทดลองชนิดสุ่มและแซมเปิลสเปซ เหตุการณ์ การนับ Sample points

  • การเลือก คุณสมบัติและทฤษฎีของความน่าจะเป็น

  • ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข และเหตุการณ์ที่เป็นอิสระต่อกัน

  • ทฤษฏีเบย์

22/6/53


การแจกแจงความน่าจะเป็น

  • บทนำ

  • การแจกแจงความน่าจะเป็น

  • ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข และเหตุการณ์ที่เป็นอิสระต่อกัน

  • การแจกแจงความน่าจะเป็นและค่าที่คาดว่าควรจะเป็นของตัวแปรสุ่ม

  • ชนิดของตัวแปรสุ่ม การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม

  • ฟังก์ชันของการแจกแจงความน่าจะเป็นแบบสะสม

  • ค่าที่คาดว่าควรจะเป็นของตัวแปรสุ่ม และคุณสมบัติของค่าที่คาดว่าควรจะเป็น

  • ความแปรปรวนของตัวแปรสุ่มและกฏเกณฑ์เกี่ยวกับความแปรปรวน

29/06/53

การคาดหวังทางคณิตศาสตร์

  • บทนำ

  • ค่าคาดหวังของตัวแปรสุ่ม

  • โมเมนต์

  • เชบิเชฟเธียรเล็ม

  • โมเมนต์เจเนอเรติ้งฟังก์ชัน/ โพรดักซ์โมเมนต์

  • การคาดหวังแบบมีเงื่อนไข

06/07/53

การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบพิเศษ

การแจกแจงทวินามและไฮเปอร์จีออเมตริก

  • การทดลองแบบเบอมูลลี่

  • การทดลองแบบทวินาม และทฤษฎีความน่าจะเป็นและการแจกแจงบททวินาม

  • มัชฌิมเลขคณิตและความแปรปรวนสำหรับการการแจกแจงทวินาม

  • การแจกแจงแบบไฮเปอร์จีออเมตริก

  • มัชฌิมเลขคณิตและความแปรปรวนสำหรับการแจกแจงไฮเปอร์จีออเมตริก

การแจกแจงพัวซอง

  • ลักษณะการแจกแจงแบบพัวซอง

  • มัชฌิมเลขคณิตและความแปรปรวนสำหรับการแจกแจงแบบพัวซอง

  • การประมาณค่าของการแจกแจงทวินามโดยการใช้การแจกแจงพัวซอง

13/07/53

การแจกแจงแบบปกติ

  • คุณสมบัติของเส้นโค้งปกติ

  • ทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับกับการแจกแจงปกติ

  • พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ

  • การกำหนดระดับ/การทดสอบไคสแควร์

  • วิธีการทดสอบภาวธสารูปสนิทดี ของการแจกแจงรูปแบบทวินาม พัวซอง

    และแบบปกติ

  • การใช้การทดสอบไคสแควร์กับตารางการณ์จร

20/07/53

ฟังก์ชันของตัวแปรสุ่ม

  • บทนำ

  • เทคนิคการแจกแจงของฟังก์ชัน

  • ทรานสฟอร์มเทคนิค แบบตัวแปรเดียว

  • ทรานสฟอร์มเทคนิค แบบหลายตัวแปร

  • โมเมนต์เจเนอเรติ้งฟังก์ชันเทคนิค

2-8 /08/53

สอบกลางภาค

10/08/53

การสุ่มตัวอย่างและการประมาณค่า

  • ประชากร ตัวอย่าง

  • วิธีการสุ่มตัวอย่าง

  • การสุ่มตัวอย่างแบบแทนที่และไม่แทนที่

  • การประมาณค่า

การสุ่มตัวอย่างและการประมาณค่า (ต่อ)

  • การแจกแจงของค่าเฉลี่ยที่ได้จากตัวอย่าง

  • ทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการสุ่มตัวอย่าง

  • การแจกแจงของความแปรปรวนที่ได้จากตัวอย่าง

  • คุณสมบัติบางประการของตัวประมาณค่า

17/08/53

การสุ่มตัวอย่างและการประมาณค่า (ต่อ)

  • วิธีการโดยทั่วไปในการประมาณค่าแบบจุด

  • การประมาณค่าในรูปของช่วง

  • การประมาณค่าสัดส่วน

  • การกำหนดขนาดของตัวอย่าง

24/08/53

การทดสอบความมีนัยสำคัญ

  • ความมีนัยสำคัญและการทดสอบความมีนัยสำคัญ

  • การทดสอบแบบหางเดียวและสองหาง

  • การทดสอบเกี่ยวกับตัวพารามิเตอร์ต่างๆ

  • การทดสอบเกี่ยวกับค่าเฉลี่ย

31/08/53


การทดสอบความมีนัยสำคัญ (ต่อ)

  • การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยขงประชากรสองกลุ่ม

  • การทดสอบเกี่ยวกับสัดส่วน

  • การทดสอบเกี่ยวกับสัดส่วนของตัวอย่าง 2 ชุด

  • ความเกี่ยวข้องระหว่างการทดสอบสมมติฐานกับการหาขอบเขตที่เชื่อมั่นได้

  • ความคลาดเคลื่อน 2 แบบและ power ของการทดสอบ

07/09/53

การทดสอบแบบนอนพาราเมตริกซ์

  • บทนำ

  • การทดสอบแบบซายน์

  • การทดสอบแบบซายน์แรงค์

14/09/53

ดัชนี

  • ความหมาย และดัชนีชนิดต่างๆ

  • สัญลักษณ์ที่ใช้เกี่ยวกับดัชนี

  • วิธีการพื้นฐานในการสร้างดัชนี

  • คุณสมบัติของค่าสัมพัทธ์

  • สูตรที่ใช้ในการคำนวณดัชนี

  • การเปลี่ยนปีฐาน ดัชนีแบบลูกโซ่ การเชื่อมต่อดัชนี ตัวอย่างดัชนีที่สำคัญของไทย

21/09/53

สรุปเนื้อหาปลายภาค

27 /9 -10/10/53

สอบปลายภาค


การประเมินผลการ เรียน

  • การ เข้าชั้นเรียน

10

คะแนน

  • สอบ เก็บคะแนน

10

คะแนน

  • สอบกลาง ภาค

40

คะแนน

  • สอบ ปลายภาค

40

คะแนน

รวม

100

คะแนน

ตำราอ่านประกอบ

Freund, John E. Mathematical Statistics, sixth edition. United States of America: Prentice-Hall.2003.

Gujarati, Damodar N.Basic Econometrics, fourth edition. Singapore: McGraw-Hill, International edition, 2003.

วีนัส พีชวณิชย์ และสมจิต วัฒนาชยากูล. สถิติ สำหรับนักสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สำนักพิมพ์ประกายพรึก, 2545.

เอกสารประกอบการบรรยายที่รวบรวมจากหลายเล่ม เช่นจากตำราของ มสธ., บางส่วนของกัลยาณี คูณมี (2550), ตำราของFroyd (2005) ฯลฯ

Make a Free Website with Yola.