SWU - Economics

วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐานสำหรับนักเศรษฐศาสตร์

Introduction to Mathematical Economics



****************************************************************


วัน จันทร์ กลุ่ม02(CE) 12.30-14.20. กลุ่ม 01(AB)14.30-16.20 .

ผู้สอน .ดร.พัตรานุช ศรประสิทธิ์ (ศบ.เกียรตินิยม, ศม., Ph.D.)

คำอธิบายรายวิชา

ปูพื้นฐานสำหรับการศึกษาระบบจำนวนและฟังก์ชัน เมตริกและตัวกำหนด เรขาคณิตวิเคราะห์ การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตและฟังก์ชันตรีโกณมิติและการประยุกต์ ศึกษาผลต่างของอนุพันธ์และอินทิกรัล เพื่อนำมาอธิบายแนวความคิดและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น และขั้นกลางทั้งด้านจุลภาคและมหภาค เพื่อให้เข้าใจลักษณะความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆทางเศรษฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันรวม ฟังก์ชันเฉลี่ย และฟังก์ชันส่วนเพิ่ม การวิเคราะห์ค่าความยืดหยุ่นและมูลค่าปัจจุบัน ดุลยภาพต่างๆ ผลของการเก็บภาษีแต่ละประเภทการหาค่าสูงสุดและต่ำสุดในกรณีที่มีข้อจำกัด และการโปรแกรมเชิงเส้น

ดาวน์โหลด Course Syllabus ภาค 1/2553

 
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการบรรยาย
 Click here  ปรับปรุงทุกสัปดาห์

กำหนดการจัดการเรียนการสอน ภาค 1/2553

วันเวลา

เนื้อหา/ประเด็นการสอน

กิจกรรมเพิ่มเติม

7 มิ.. 53

  • ความนำ

  • ระบบจำนวนและฟังก์ชัน

  • เรขาคณิตวิเคราะห์

ทบทวนความรู้เดิม

14,21 มิ.. 53

  • เมตริกซ์และตัวกำหนด

ทำโจทย์การบ้าน

28 มิ.., 5 .. 53

  • การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิตและฟังก์ชันตรีโกณมิติและการประยุกต์

ทำโจทย์การบ้าน

12 .. 53

  • ผลต่างของอนุพันธ์

ทำโจทย์การบ้าน

19 .. 53

  • อินทิกรัล

ทำโจทย์การบ้าน

2-8 .. 53

สอบกลางภาค


9 ..53

  • ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆทางเศรษฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชันรวม ฟังก์ชันเฉลี่ย และฟังก์ชันส่วนเพิ่ม

ทำโจทย์การบ้าน

16 ,23 ..53

  • การวิเคราะห์ค่าความยืดหยุ่น

ทำโจทย์การบ้าน

30 ..53

  • มูลค่าปัจจุบัน

ทำโจทย์การบ้าน

6 ..53

  • ดุลยภาพต่างๆ ผลของการเก็บภาษีแต่ละประเภท

ทำโจทย์การบ้าน

13 .. 53

  • การหาค่าสูงสุดและต่ำสุดในกรณีที่ไม่มีข้อจำกัดและมีข้อจำกัด

ทำโจทย์การบ้าน

20 .. 53

  • การโปรแกรมเชิงเส้น

ทบทวนก่อนสอบไล่


27. -10 .. 53

สอบปลายภาค



ประเมินผลการเรียน

1. สอบกลางภาค                    40 %

2. สอบปลายภาค                   40 %

3. การบ้าน (โจทย์ที่ให้)            10 %

4. การเข้าชั้นเรียน                  10 %

        รวม                          100 %

หากคะแนนรวมตั้งแต่ 50 คะแนนขึ้นไป ผลการเรียน สอบได้ (ผ่าน)

หากคะแนนรวมน้อยกว่า 50 คะแนน ผลการเรียน สอบไม่ได้ (ไม่ผ่าน)


ตำราอ่านประกอบ

Edward T Dowling, Mathematics for Economists, Schaum’s Outline Series, (Mcgraw-Hill,1980)

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, เอกสารการสอนชุด คณิตศาสตร์สำหรับนักเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์, 2546.

อนุสรณ์ สรพรหม, คณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐานสำหรับนักเศรษฐศาสตร์, 2551.

รัฐวิชญ์ จิวสวัสดิ์ , คณิตเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เล่ม 1 :การวิเคราะห์เชิงสถิตย์และการวิเคราะห์เชิงสถิตย์เปรียบเทียบ, 2551.

รัฐวิชญ์ จิวสวัสดิ์, คณิตเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เล่ม 2 :การหาค่าที่เหมาะที่สุดและการวิเคราะห์เชิงพลวัต, 2551.

Make a Free Website with Yola.